วันจันทร์ที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2557

สมาชิกในกลุ่ม

เรื่อง เสียง(Sound)

เสนอ

อาจารย์ อภินันท์ ฐิติภรณ์พันธ์

จัดทำโดย

1.นายพิชณรัตน์         ขุนชิต              เลขที่ 12
2.นางสาวณัฐณิชา     กอบกาญจน์     เลขที่ 21
3.นางสาวสุพรรษา     แก้วหล้าแสง    เลขที่ 37

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 12 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557




คลื่นกระแทก






ที่มา : http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/89/sound.html

ระดับเสียง




ที่มา : http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/89/sound.html

ความเข้มเสียง และระดับความเข้มเสียง


ที่มา : http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/89/sound.html

การสั่นพ้อง




ที่มา : http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/89/sound.html

การเกิดคลื่นเสียงและการเคลื่อนที่ของคลื่นเสียง



สมบัติของเสียง





ที่มา : http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/89/sound.html

วันพฤหัสบดีที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2557

แบบฝึกหัดเรื่องเสียง




ที่มา http://www.rsu.ac.th/science/physics/pom/home_work/phy_223/waves_sound/waves_sound.pdf

ฟิสิกส์ สรุป เสียง part6:ดอปเปลอร์,คลื่นกระแทก(เพิ่มความเข้าใจ)

ฟิสิกส์ สรุป เสียง part5:การสั่นพ้อง,ท่อปลายปิด,ปลายเปิด(เพิ่มความเข้าใจ)

ฟิสิกส์ สรุป เสียง part4:มุมวิกฤต,สะท้อนกลับหมด,คลื่นนิ่ง,บีตส์ (เพิ่มความเข้าใจ)

ฟิสิกส์ สรุป เสียง part3:สะท้อน,หักเห,เลี้ยวเบน,แทรกสอด (เพิ่มความเข้าใจ)

ฟิสิกส์ สรุป เสียง part2:อัตราเร็วเสียงในอากาศ,กราฟอัด-ขยาย (เพิ่มความเข้าใจ)

ฟิสิกส์ สรุป เสียง part1:ความเข้มเสียง,ระดับความเข้มเสียง(เพิ่มความเข้าใจ)

วิธีลัดช่วยจำในปรากฏการณ์ดอปเปลอร์

วิธีลัดช่วยจำในปรากฏการณ์ดอปเปลอร์
ใช้วิธีการเขียนเวกเตอร์
                        ในการที่จะเกิดปรากฏการณ์ดอปเปลอร์นั้น จะต้องมีทั้งแหล่งกำเนิดเสียงและผู้รับฟังเสียง  และเสียงจะเคลื่อนที่จากแหล่งกำเนิดเสียงจนถึงผู้ฟังอย่างแน่นอน และวิธีนี้ไม่ว่าผู้ฟังและแหล่งกำเนิดเสียงจะเคลื่อนที่ไปทางไหนก็จะสามารถใช้ได้  โดยมีวิธีทำดังนี้
1.      วาดรูปการเคลื่อนที่ และเขียนเวกเตอร์การเคลื่อนที่
2.      เขียนเวกเตอร์ของเสียง
3.      สังเกตเวกเตอร์ หากผู้ฟังหรือแหล่งกำเนิดเสียงเคลื่อนที่ในทิศทางเดียวกับเสียง ความเร็วของผู้ฟังหรือแหล่งกำเนิดเสียงนั้นจะมีเครื่องหมายเป็นลบ
4.      สังเกตเวกเตอร์ หากผู้ฟังหรือแหล่งกำเนิดเสียงเคลื่อนที่ในทิศสวนทางกับทิศทางของเสียง ความเร็วของผู้ฟังหรือแหล่งกำเนิดเสียงนั้นจะมีเครื่องหมายเป็นบวก
5.      ในกรณีที่ผู้ฟังหรือแหล่งกำเนิดเสียงนั้นไม่มีการเคลื่อนไหวให้แทนค่าความเร็วเป็น 0
6.      แก้สมการหาโดยใช้สูตร ( แทนค่าลงไป ) คือ (V+Vo / V+Vs)fs = fo

V= ความเร็วเสียง
Vo= ความเร็วของผู้ฟัง
Vs = ความเร็วของแหล่งกำเนิดเสียง
fo = ความถี่ที่ผู้ฟังจะได้ยิน
fs = ความถี่ของแหล่งกำเนิดเสียง


ที่มา http://www.yimwhan.com/board/show.php?user=sudteerak1&topic=10&Cate=10

สัญลักษณ์ต่าง ๆ

สัญลักษณ์ต่าง ๆ แทนค่าได้ดังนี้
V = ความเร็วเสียง ( m/s )
l = ความยาวคลื่นเสียง (m)
S = ระยะทางที่เสียงเดินทาง (m)
Vtความเร็วเสียง ณ อูณหภูมินั้น
t = เวลาที่เสียงเดินทาง (s)
f = ความถี่ของเสียง (Hz)
d = ระยะห่างระหว่างแหล่งกำเนิดอาพันธ์ 2 แหล่ง(เมตร)
n = ปฏิบัพหรือบัพที่พิจารณา
sinq = ค่า sin ของมุมที่วัดจากเส้นที่ลากจากจุด A0 ไปยังจุดที่พิจารณากับเส้น A0 
P = กำลัง (watt)
R = รัศมีในการปล่อยเสียง (เมตร)
D = ระยะที่วัดจากกึ่งกลางแหล่งกำเนิดอาพันธ์ถึงจุดที่ตัดกันระหว่างเส้น A0 กับเส้นที่ลากจากจุดที่พิจารณามาตั้งฉากกับเส้นA0
f = ความถี่บีตส์
 f1f2 ความถี่จาก 2 แหล่งที่ทำให้เกิดบีตส์ ซึ่งต้องมีผลต่างที่ไม่เกิน 7
I = ความเข้มเสียง ( watt/m2)
W = พลังงานเสียง ( จูล )
bระดับควมเข้มเสียง
A = พื้นที่ที่เสียงตกกระทบ

สรุปสูตรคลื่นเสียง (Sound Waves)

คลื่นเสียง (Sound Waves)

สรุปสูตรจากสมบัติโดยทั่วไปของเสียงและคลื่นทั่วไป

สิ่งที่ต้องการหา
สูตร

ความเร็วเสียงในอุณหภูมิต่าง ๆ

Vt= 331+0.6t
ความเร็วเสียง
V = fl
ความเร็วเสียง
V = s/t
สูตรที่ใช้ในการแทรกสอดของเสียงดัง
S1P- S2P = nl
สูตรที่ใช้ในการแทรกสอดของเสียงดัง
dsinq = nl
สูตรที่ใช้ในการแทรกสอดของเสียงดัง
สูตรที่ใช้ในการแทรกสอดของเสียงค่อย
S1P- S2P = (n-1/2)l
สูตรที่ใช้ในการแทรกสอดของเสียงค่อย
dsinq =  (n-1/2)l
สูตรที่ใช้ในการแทรกสอดของเสียงค่อย
(n-1/2)l
สิ่งที่ต้องการหา
สูตร
ความถี่บีตส์
fB= f1-f2
ความเข้มเสียง(I)
I=W/At = P/A = P/4pR2
การเปรียบเทียบค่าความเข้มเสียงของ 2 สถานที่ซึ่งมีแหล่งกำเนิดเดียวกัน
ระดับความเข้มเสียง(b)
หาความต่างของระดับความเข้มเสียง
b1-b2=
b1-b2 =


ที่มา http://www.yimwhan.com/board/show.php?user=sudteerak1&topic=10&Cate=10

สรุปฟิสิกส์เรื่องเสียง

สรุปฟิสิกส์เรื่องเสียง
 –  เสียงเป็นคลื่นกล ดังนั้นจึงไม่สามารถเคลื่อนที่ผ่านสุญญากาศได้นะ
 –  เสียงเป็นคลื่น ก็จะมีคุณสมบัติ สะท้อน หักเห เลี้ยวเบน และแทรกสอด
 –  คุณสมบัติการสะท้อนของเสียงก็คือ

สูตรที่ใช้เรื่องการสะท้อนกลับ คือ
s = vt
กับ
v = fλ
 –  ***** เวลาอย่าลืมหาร 2
 –  หักเหกะเลี้ยวเบนไม่เน้น
 –  แทรกสอดคือการที่คลื่นเสียงตั้งแต่ 2 คลื่นเสียงเคลื่อนที่มารวมกัน


เกิดเป็นคลื่นลักษณะดังนี้



 –  แทรกสอดแบบเสริม สิ่งที่ได้เรียก ปฏิบัพ
 –  แทรกสอดแบบหักล้าง สิ่งที่ได้เรียก บัพ

วันพุธที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2557